วัน และเวลา
ชาวพม่าจะแบ่งเวลาในแต่ละวันเป็น 12
ชั่วโมง2คาบคือกลางวันและกลางคืน เมื่อนับ ชั่วโมงกำหนดบอกกลางวัน หรือกลางคืนไปด้วยกันกับตัวเลข อาทิ “มะ แนะ
ชิ นายี” คือ“แปดโมงเช้า” และ “ญะ ชิ นายี” คือ“แปดโมงค่ำ (สองทุ่ม)”
ช่วงเวลา
เช้า reuf มะ แนะ
เที่ยง rëef;wnfh มู้น แตะ
บ่าย ae@vnf เนะ แล
เย็น nae ญะ เน
ค่ำ nOD;ydkif; ญะ อู ไป้
ดึก nOfheuf ญีน แนะ
ใกล้รุ่ง tm&k%fwuf อา โยน แตะ
ปี ESpf นิ
เดือน v ละ
วัน ae@ เนะ
วันที่ &uf แยะ
ชั่วโมง / โมง em&D นายี
นาที rdepf มินิ
วินาที puUef@ แซ่ กั่น
ae@ (เนะ)
วัน
ลำดับแรกเรามารู้จักกับ
การเรียกชื่อวันทั้ง
7 ในหนึ่งสัปดาห์และ เดือนทั้ง 12 ในหนึ่งปี
วันอาทิตย์
[ta
nin ga nwe ne] ตนีนกะนเวเนะ
วันจันทร์
[ta nin lar ne] ตนีนลาเนะ
วันอังคาร
[in
gar ne] อีนกาเนะ
วันพุธ
[bod
da hu ne] โบะดะหู้เนะ
วันพฤหัสบดี
[kyar
thar pa tay ne] จาตาปะเต้เนะ
วันศุกร์
[thauk kyar ne] เตาะจาเนะ
วันเสาร์
[sa nay ne] ซเนเนะ
v (ละ)
เดือน
มกราคม
กุมภาพันธ์
[phe phor war yi la] เพพอวายีละ
มีนาคม
[mat la] มะละ
เมษายน
[aye pyi la] เอปยีละ
พฤษภาคม
[may la] เมละ
มิถุนายน
[zun la] ซุนละ
กรกฎาคม
[zu lai la] ซูไลละ
สิงหาคม
[Aw gout la] ออโกะละ
กันยายน
[set tin bar la] แซะตีนบาละ
ตุลาคม
[out to bar la] เอาะโตบาละ
พฤศจิกายน
[no win bar
la] โนวีนบาละ
ธันวาคม
[di zin bar
la] ดีซีนบาละ
ที่ประเทศเมียนมาใช้ระบบการอ่านปีเป็นสองระบบ
แบบที่หนึ่งเป็นแบบประเพณีวัฒนธรรมดั่งเดิมของเมียนมาคือ “ปีเมียนมาศักราช” เช่น
สำหรับปี 2012 เท่ากับปีพม่า 1374 แบบที่สองคือแบบอังกฤษใช้ ค.ศ.
ส่วนใหญ่ชาวบ้านธรรมดาใช้ศักราชเมียนมา และค.ศ.นั้นใช้ฉะเพราะคนมีการศึกษาและเป็นทางการ
เมื่อจะเขียนหรือพูดวันที่ เดือน ปี ชาวเมียนมาจะพูดและเขียนปีเป็นอันดับแรก ต่อมาด้วยเดือนแล้ววันที่เช่น
ปี 2012 เดือน ตุลาคม วันที่ 16,
คำถามที่ใช้ถามเวลาโดยทั่วไปว่า
“กี่โมงแล้ว”
เป็นภาษาเมียนมาคือ
[bae hna
nar yi shi bar byi lae] “แบ นะนายี ชิบาบยีแล้” ถ้าจะตอบคำถามนี้ว่า “สิบโมงเช้าแล้ว”
พูดเป็นภาษาเมียนมาว่า
[ma nat sae
nar yi shi bar byi] “มแนะ
แซนายี ชิบาบยี” เมื่อตอบคำถามแบบนี้ถ้าไม่ได้อยู่ในสถานการณ์ต้องบอกว่าเช้า บ่าย
เย็น กลางคืนก่อนที่จะบอกเวลา บางทีแบบชาวบ้านใช้พูดแบบประเพณีวัฒนธรรมดั่งเดิมว่า
[ma nat
sae nar yi hto byi] “มแนะ แซนายี โท้บยี”
ที่ความหมายเดียวกันกับคำตอบข้างบนนี้
เพื่อจะถาม“วันนี้เป็นวันอะไร”
[di ne bar
ne bar lae] “ดีเนะ บาเนะ
บาแล้” คำตอบคือใช้คำต้นของคำถามว่า “ดีเนะ” แปลว่า “วันนี้” แล้วต่อด้วยชื่อของวันเช่น
[di ne thauk
kyar ne bar] “ดีเนะ เตาะจาเนะ
บา”
“วันนี้วันที่เท่าไร”
[di ne bae hna yetne bar lae] “ดีเนะ แบนะแยะเนะ
บาแล้” เพื่อตอบคำถามนี้เราต้องจำตัวเลขแบบภาษาเมียนมาด้วยเช่น คำตอบว่า
“วันนี้วันที่ 16” เป็นภาษาเมียนมาคือ
[di ne sae-chouk yet ne bar] “ดีเนะ แซะเชาะแยะเนะ บา”
แบบเดียวกันเพื่อจะถาม
“เดือนนี้เป็นเดือนอะไร”
[di la bar
la bar lae] “ดีละ บาละ
บาแล้” คำตอบใช้คำต้นคำถาม “ดีละ” แล้วต่อด้วยชื่อของเดือนเช่น ตอบว่า “เดือนนี้เป็นเดือนตุลาคม”
[di la out
to bar la bar] “ดีละ เอาะโตบาละ
บา”
สำหรับการพูดปีก็เช่นเดียวกัน
ทีนี้ถ้าเราจะติดต่อสื่อสารกับชาวเมียนมาเพื่อมานัดหมายนั้นไม่เป็นอุปสรรคต่อการสื่อสารสำหรับคนไทยแล้ว
แต่ก็ยังมีใช้ระบบ วัน
เดือน ปี แบบประเพณีวัฒนธรรมดั่งเดิมของเมียนมาที่ไม่อธิบายในนี้เอาไว้
เพราะว่าปฏิทินพม่าแบบวัฒนธรรมดั่งเดิมเป็นการนับโดยใช้ข้างขึ้นข้างแรมตามการเคลื่อนไหวของพระจันทร์
นี้เป็นอีกระดับหนึ่งของการศึกษาต่อไป ©
No comments:
Post a Comment